บริการธนกฤตเข็มเจาะ
รับทำเสาเข็มเจาะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 35-40-50-60 ซม.ระบบแห้งโดยระบบสามขา
- รับเจาะสำรวจชั้นดิน พร้อมรายการคำนวณน้ำหนัก
- รับวางผัง
- รับทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (Siesmic Test) โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ
- รับงานทั่วประเทศ
- รับขนย้ายโดยรถ 6 ล้อ ติดเครน
- ยินดีให้ข้อมูลและรับปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับงานเข็มเจาะ
- รับประเมินราคาเข็มเจาะ
- รับเจาะสำรวจชั้นดิน พร้อมรายการคำนวณน้ำหนัก
- รับวางผัง
- รับทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (Siesmic Test) โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ
- รับงานทั่วประเทศ
- รับขนย้ายโดยรถ 6 ล้อ ติดเครน
- ยินดีให้ข้อมูลและรับปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับงานเข็มเจาะ
- รับประเมินราคาเข็มเจาะ
- งานฐานรากที่ต้องการการสั่นสะเทือนน้อย เพื่อป้องกันความเสียหายต่ออาคารข้างเคียง
- งานฐานรากที่มีพื้นที่จำกัดคับแคบ เช่น ในตัวอาคาร ใต้อาคาร ฯ
- งานฐานรากขยายต่อเติมจากอาคารเดิม
- งานฐานรากรับน้ำหนักเครื่องจักร
- งานแก้ไขฐานรากอาคารโดยไม่ทำลายโครงสร้างเดิม
หมายเหตุ : แบบรายละเอียดของเสาเข็มที่แสดงนี้เป็นแบบมาตรฐานสำหรับเสาเข็มที่รับแรงอัดเป็นหลัก ในกรณีที่ต้องการให้เสาเข็มรับแรงดึง แรงด้านข้าง หรือโมเมนต์ จะต้องทำการออกแบบใหม่
- งานฐานรากที่มีพื้นที่จำกัดคับแคบ เช่น ในตัวอาคาร ใต้อาคาร ฯ
- งานฐานรากขยายต่อเติมจากอาคารเดิม
- งานฐานรากรับน้ำหนักเครื่องจักร
- งานแก้ไขฐานรากอาคารโดยไม่ทำลายโครงสร้างเดิม
หมายเหตุ : แบบรายละเอียดของเสาเข็มที่แสดงนี้เป็นแบบมาตรฐานสำหรับเสาเข็มที่รับแรงอัดเป็นหลัก ในกรณีที่ต้องการให้เสาเข็มรับแรงดึง แรงด้านข้าง หรือโมเมนต์ จะต้องทำการออกแบบใหม่
- ระยะห่างจากผนัง/ กำแพงต้องไม่ต่ำกว่า 75 เซนติเมตร
- ความสูงจากพื้นไม่ต่ำกว่า 3 เมตร
- เมื่อเจาะถึงระดับชั้นทรายต้องหยุดเจาะ
- เมื่อเจาะเจอชั้นน้ำต้องหยุดเจาะทันทีแม้ว่าจะยังไม่ถึงชั้นทรายก็ตาม
- พื้นที่เจาะต้องอยู่ในแนวระนาบเรียบ
- พื้นที่ต้องไม่เป็นดินเลนโคลนลึก
- เมื่อเจาะเจอเสาเข็มเก่าหรือสิ่งกีดขวางต้องทำการย้ายหมุดศูนย์เข็ม
- ความสูงจากพื้นไม่ต่ำกว่า 3 เมตร
- เมื่อเจาะถึงระดับชั้นทรายต้องหยุดเจาะ
- เมื่อเจาะเจอชั้นน้ำต้องหยุดเจาะทันทีแม้ว่าจะยังไม่ถึงชั้นทรายก็ตาม
- พื้นที่เจาะต้องอยู่ในแนวระนาบเรียบ
- พื้นที่ต้องไม่เป็นดินเลนโคลนลึก
- เมื่อเจาะเจอเสาเข็มเก่าหรือสิ่งกีดขวางต้องทำการย้ายหมุดศูนย์เข็ม
เสริมฐานรากอาคาร
การเสริมฐานราก
Underpinning
การแก้ไขปัญหาอาคารทรุดตัวโดยวิธีการเสริมฐานราก (Underpinning) มีขั้นตอนดังนี
- สำรวจตรวจสอบอาคารโดยวิศวกรหรือผู้เชี่ยวชาญเพื่อประเมินปัญหาของการทรุดตัว โดยมีขั้นตอน ดังนี้
- สำรวจตรวจพินิจสภาพความเสียหายโดยรวมของอาคาร (Visual Inspection)
- สำรวจค่าการทรุดเอียงตัวของอาคารโดยกล้องระดับ (Settlement Surveying)
- สำรวจรอยแตกร้าวของโครงสร้างอาคาร (Structural Crack Mapping)
- ประเมินค่ามุมบิดของโครงสร้าง (Angular Distortion)ในบางกรณีอาจต้องทำการสำรวจเพิ่มเติมในเชิงลึก เช่น การเจาะสำรวจชั้นดินฐานราก (Soil Investigation) การขุดสำรวจโครงสร้างฐานราก (Test Pit) การตรวจสอบความยาวเสาเข็มโดยวิธี Seismic Test หรือ การสำรวจติดตามการทรุดตัวระยะยาว (Long Term Settlement Monitoring) เป็นต้น
- เมื่อทราบถึงสาเหตุและปัญหา วิศวกรจะทำการประเมินน้ำหนักบรรทุกของอาคาร (Column Load) แล้วจึงกำหนดตำแหน่งที่จะทำการเสริมฐานราก-จำนวนเสาเข็ม-ความยาวเสาเข็ม ทั้งนี้การเสริมฐานรากอาจเลือกทำเฉพาะตำแหน่งที่มีความเสียหาย (Partially Underpinning) แต่ในกรณีทีอาคารเกิดการทรุดเอียงตัว-เสียหายมากอาจจำเป็นต้องทำทุกตำแหน่ง (Completely Underpinning)
- ขุดเปิดพื้นที่ในการทำงานใกล้ตำแหน่งฐานรากเดิม ความลึกประมาณ 1.5 เมตร ความกว้างประมาณ 80 เซนติเมตร หลังจากนั้นทำการกดเสาเข็มไมโครไพล์ด้วยแม่แรงไอดรอลิก (Hydraulic Jacking) ลงสู่ชั้นดินทีละท่อน ท่อนละ 1 เมตร แล้วทำการเชื่อมต่อแต่ละท่อน กดเสาเข็มจนกระทั่งได้ความลึกตามที่วิศวกรกำหนดไว้ เมื่อทำการกดเข็มได้ความลึกตามต้องการ จะเทคอนกรีตลงไปในเสาเข็มเหล็กเพื่อเพิ่มความคงทนและป้องกันการกัดกร่อนจากน้ำใต้ดิน
- ทำการค้ำยันโครงสร้างด้วย Screw Jack เพื่อรื้อถอนฐานรากเดิม และประกอบฐานรากใหม่ ซึ่งฐานรากใหม่อาจจะเป็นฐานรากแบบโครงเหล็กรูปพรรณ (Steel Frame) หรือ ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforcement Concrete)
- ทำการถ่ายเทน้ำหนักบรรทุกลงสู่ฐานราก (Pre-Loading) โดยใช้แม่แรงขนาด 100 ตัน กดย้ำที่หัวเสาเข็มหรือฐานรากใหม่ เพื่อให้ฐานรากสามารถรับน้ำหนักบรรทุกใช้งานได้ทันทีโดยไม่เกิดการทรุดตัวในภายหลัง
- ในกรณีที่ต้องยกปรับระดับอาคาร (Lifting) จะทำการค้ำยันโครงสร้างด้วย Screw Jack แล้วจึงทำการตัดเสาตอม่อเดิม ติดตั้งแม่แรงขนาด 50-100 ตัน แทนที่ แล้วจึงทำการปรับยกตัวอาคารให้ได้ระดับหรือความสูงตามต้องการต่อไป
หมายเหตุ
- การเสริมฐานรากใช้พื้นที่ในการทำงานไม่มากและไม่มีผลกระทบกับอาคารข้างเคียงเนื่องจากไม่มีแรงสั่น สะเทือน เสียงดังอึกทึกรบกวน และฝุ่นควันขณะทำงานอีกทั้งยังสามารถพักอาศัยในอาคารได้ตามปกติ
- เสาเข็มไมโครไพล์ (Micro Pile) คือ ท่อเหล็กท่อนละ 1 เมตร(Segmental Steel Pipe) ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ 4-10 นิ้ว ซึ่งวิศวกรจะเป็นผู้กำหนด
- แม่แรงไฮดรอลิกที่ใช้ในการกดเสาเข็มและ Pre-Loading ต้องผ่านการสอบเทียบ(Calibration) โดยหน่วยงานซึ่งเป็นที่ยอมรับ
- การเสริมฐานรากควรอยู่ในความควบคุมดูแลของวิศวกรหรือผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์
ข้อดีเสาเข็มแบบเจาะ
- สามารถลดการสั่นสะเทือน
- ใช้พื้นที่น้อยในการทำงาน
- รับน้ำหนักได้ดี
- เหมาะกับงานทุกชนิด
- ลดเวลาการก่อสร้าง
- ลดปัญหามลพิษ
ข้อเสียเสาเข็มแบบตอก
- เกิดแรงสั่นสะเทือน
- ใช้พื้นที่กว้าง
- เสียงดัง
- เกิดผลกระทบกับอาคารไกล้เคียง
- มีข้อกําจัดในบางอาคาร